ก็คือเรื่องเวสสันดรชาดก
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถโปรดเกล้าฯ
ให้ประชุมนักปราชญ์ราชบัณฑิตแปลแต่งที่เมืองพิษณุโลก เมื่อพ.ศ. 2025 ดังปรากฏหลักฐานใน
พระราชพงศาวดารฉบับหลวงประเสริฐอักษรนิติ์ว่า...อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2558
มงคลสูตรคำฉันท์
เมื่อ พ.ศ. 2466 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว
ในรัชกาลที่6ทรงนำมงคลสูตรมาทรงพระราชนิพนธ์เป็นบทร้อยกรองประเกทคำฉันท์
โดยใช้คำประพันธ์ 2 ชนิด คือ...อ่านเพิ่มเติม
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
บทความเรื่อง
ทุกข์ของชาวนาในบทกวี
มีที่มาจากหนังสือรวบรวมบทพระราชนิพนธ์ในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ
สยามบรมราชกุมารี เรื่อง มณีพลอยร้อยแสง ซึ่งทรงพระกรุณาโปรดฯให้จัดพิมพ์ขึ้นเมื่อ...อ่านเพิ่มเติม
หัวใจชายหนุ่ม
หัวใจชายหนุ่ม
เป็นบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว โดยทรงใช้พระนามแฝงว่า “รามจิตติ” เพื่อพระราชทานลงพิมพ์ในหนังสือพิมพ์ “ ดุสิตสมิต” เมื่อ...อ่านเพิ่มเติม
นิราศนรินทร์คำโคลง
นิราศนรินทร์เป็นบทประพันธ์ประเภทนิราศคำโคลงที่โด่งดังที่สุดในยุครัตนโกสินทร์
ทัดเทียมได้กับ"กำสรวลศรีปราชญ์
"และ"ทวาทศมาส"ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ผู้แต่งคือ
นายนรินทร์ธิเบศร์(อิน) แต่งขึ้นเมื่อคราวตามเสด็จ...อ่านเพิ่มเติม
นิทานเวตาล เรื่องที่10
เวตาล
เป็นชื่อตัวละครตัวเอกของเรื่อง นิทานเวตาลมีหลายเรื่อง
ผู้แปล พระราชวรวงศ์เธอกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.)
พระนามเดิม พระองค์เจ้ารัชนี แจ่มจรัส
นามแฝง น.ม.ส. นำมาจากพยัญชนะตัวสุดท้ายของชื่อ และนามสกุล...อ่านเพิ่มเติม
พระนามเดิม พระองค์เจ้ารัชนี แจ่มจรัส
นามแฝง น.ม.ส. นำมาจากพยัญชนะตัวสุดท้ายของชื่อ และนามสกุล...อ่านเพิ่มเติม
อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
อิเหนา เป็นวรรณคดีที่ได้รับการยกย่องของบทละครลำ
เพราะเป็นหนังสือซึ่งแต่งดีทั้งกลอน ทั้งความ
และทั้งกระบวนการที่ตะเล่นละครประกอบการ และยังเป็นหนังสือที่ดี
ในทางที่ตะศึกษาประเพณีไทยสมัยโบราณ...อ่านเพิ่มเติม
คำนมัสการคุณานุคุณ
คำนมัสการคุณานุคุณ เป็นผลงานการประพันธ์ของพระยาศรีสุนทรโวหาร
(น้อยอาจารยางกูร) มีเนื้อหาว่าด้วยการน้อมรำลึกและสำนึกในคุณงามความดีของพระพุทธ
พระธรรม พระสงฆ์ บิดามารดา และครูอาจารย์ โดยมีความมุ่งหมายให้ผู้อ่าน...อ่านเพิ่มเติม
การวิจักษ์วรรณคดี
คือการเกิดความเข้าใจแจ่มแจ้งจนตระหนักในคุณค่าของวรรณคดีเรื่องหนึ่งๆ
ว่าเป็นงานศิลปะที่ถึงพร้อมเพียงใด มีข้อดีเด่นอย่างไร มีข้อด้อยอย่างไร มีข้อคิดที่สัมพันธ์กับชีวิตจริงเพียงใด เป็นต้น...อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)